รายละเอียดตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบ

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 1.1 (สกอ.) กระบวนการพัฒนาแผน
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑๖ (สมศ.) ผลการพัฒนาตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
    • ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑๖.๑ (สมศ.) ผลการบริหารมหาวิทยาลัยให้เกิดอัตลักษณ์
    • ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑๖.๒ (สมศ.) ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑๗ (สมศ.) ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 2.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 2.2 (สกอ.) อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 2.3 (สกอ.) อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 2.4 (สกอ.)ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 2.5 (สกอ.) ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 2.6 (สกอ.)ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 2.7 (สกอ.)ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 2.8 (สกอ.)ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ (สมศ.)บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพ อิสระภายใน 1 ปี
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ (สมศ.)คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอกตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
    อุดมศึกษาแห่งชาติ
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ (สมศ.)ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๔ (สมศ.)ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑๔ (สมศ.)การพัฒนาคณาจารย์
องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 3.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 3.2 (สกอ.) ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 4.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 4.2 (สกอ.) ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 4.3 (สกอ.) เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๕ (สมศ.)งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ เผยแพร่
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๖ (สมศ.)งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๗ (สมศ.)ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ
องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 5.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 5.2 (สกอ.) กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคม
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๘ (สมศ.)ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้ บริการวิชาการมาใช้ใน
    การพัฒนาการเรียนการสอน และ/หรือการวิจัย
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๙ (สมศ.)ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑๘ (สมศ.)ผลการชี้นำและ/หรือแก้ปัญหาสังคมในด้านต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
    • ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑๘.๑ (สมศ.) ผลการชี้นำ ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมภายในมหาวิทยาลัย
    • ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๑๘.๒ (สมศ.) ผลการชี้นำ ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมภายนอกมหาวิทยาลัย
องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 6.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑๐ (สมศ.) การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑๑ (สมศ.) การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม
องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 7.1 (สกอ.) ภาวะผู้นำของสภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 7.2 (สกอ.) การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่มหาวิทยาลัยเรียนรู้
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 7.3 (สกอ.) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 7.4 (สกอ.) ระบบบริหารความเสี่ยง
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๑๒ (สมศ.) การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๑๓ (สมศ.) การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย
องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 8.1 (สกอ.)ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ
องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
  • ตัวบ่งชี้ ที่ 9.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
  • ตัวบ่งชี้ที่ ๙.๑๕ (สมศ.)ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรอง 111 โดยต้นสังกัด